Humberger Menu

‘เบื่อหน่ายการจัดการ-ไม่ก้าวหน้าในอาชีพ-ค่าตอบแทนไม่ยุติธรรม’ ต้นเหตุ ‘พยาบาลไทย’ ไม่ไปต่อ

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Everyday Life

Live & Learn

Social Issues

15 ธ.ค. 65

creator
วิทย์ บุญ
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Everyday Life

( 3 min read )

รู้เท่าทัน Gender-Based Violence ถึง Femicide : เมื่อ ‘ความเป็นหญิง’ ทำให้ตกเป็น ‘เหยื่อ’

23 เม.ย. 66

Relationships
รู้เท่าทัน Gender-Based Violence ถึง Femicide : เมื่อ ‘ความเป็นหญิง’ ทำให้ตกเป็น ‘เหยื่อ’
morebutton read more
Summary
  • ปัจจุบัน หลายที่ในโลกกำลังเผชิญกับสถานการณ์ ‘การแห่ลาออกครั้งใหญ่ของคนทำอาชีพพยาบาล’ เนื่องจากเป็นงานที่หนัก ส่งผลให้คุณภาพชีวิตย่ำแย่ ซึ่งสำหรับประเทศไทยเคยมีการศึกษาว่าในระหว่างปี 2548-2553 พยาบาลวิชาชีพที่เป็นลูกจ้างโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป 95 แห่ง มีอัตราการลาออกภายในปีแรกถึง 48.68 เปอร์เซ็นต์
  • ผลสำรวจพยาบาลและสหวิชาชีพ 4,563 คนเมื่อปี 2563 พบว่า อายุเฉลี่ยที่อยากลาออก คือ 51 ปี โดยสาเหตุที่อยากลาออกเพราะเบื่อหน่ายกับระบบการจัดการ รองลงมาคือไม่มีความก้าวหน้าในอาชีพ ซึ่งอายุในช่วงนี้ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเชี่ยวชาญ ที่หากสูญเสียคนกลุ่มนี้ไปจากระบบสาธารณสุข ภาระงานของพยาบาลจะมากขึ้น และผลกระทบจะตกอยู่กับประชาชน
  • ทั้งนี้อัตราการลาออกของพยาบาลในช่วง 1-5 ปีแรกสูงขึ้นเรื่อยๆ มีการศึกษาชี้ว่า ปัจจัยการลาออกของพยาบาลรุ่นใหม่ขึ้นกับ ‘การดึงดูดจากภายนอกเมื่อเปรียบเทียบกับงานอื่น’ และ ‘ค่าตอบแทนที่เพียงพอ-ยุติธรรม’
  • งานศึกษาเมื่อปี 2564 พบว่า ปัจจัยที่ทำให้พยาบาลตัดสินใจออกจากงานในช่วงสถานการณ์โควิด-19 คือ สถานการณ์จ้างงาน เช่น ประเด็นการเป็นข้าราชการ และประเด็นค่าตอบแทนจากการทำงานที่ไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน เช่น ‘เงินทิพย์’ ค่าตอบแทนที่เซ็นเบิกไปแล้ว แต่ขาดช่องทางในการสื่อสารที่ชัดเจนว่าจะได้รับเงินหรือไม่ ในช่วงเวลาใด และจะได้รับเงินเต็มจำนวนหรือเปล่า

...

( 2 min read )



Share article
  • Line
  • link

Follow

TRENDING

+
morebutton read more